Nested Wiki
  • English
  • Thai
ไปที่เว็บไซต์
กลับ
บทความเกี่ยวกับ:Module บัญชี
การตั้งผังบัญชี ทรัพย์สิน สมุดรายวัน ภาษี และรายงาน

หมวดหมู่

  • Dashboard
  • Module ซื้อ
  • Module ขาย
  • Module บัญชี
  • Module การเงิน
  • Module คลังสินค้า
  • Module ตั้งค่า
  • FAQ คำถามที่พบบ่อย
  • FAQ: การปลดล็อคงวดบัญชีเพื่อคำนวณค่าเสื่อมราคาใหม่
    เงื่อนไขที่ 1: โดยปกติของระบบจะคำนวณเสื่อมราคาให้อัตโนมัติ ทุกวันที่ 1 ของทุกเดือน เดือนละ 1 ครั้ง เริ่มคำนวณค่าเสื่อมราคาตั้งเเต่เวลา 04.00 - 06.00 น. โดยไม่ต้องปลดล็อกงวดบัญชีใดๆ เงื่อนไขที่ 2: เเต่หากมีการอัพเดท หรือ แก้ไขข้อมูลทรัพย์สินบางรายการ จึงจำเป็นต้องปลดล็อกงวดบัญชีเพื่อให้ระบบคำนวณค่าเสื่อมราคาให้ใหม่ค่ะ (เหตุผลที่ต้องปลดล็อกงวดบัญชี เนื่องจากการคำนวณค่าเสื่อมราคาใหม่จะทำให้ยอดเปลี่ยนแปลงไป อาจกระทบกับงบที่ปิดไปเเล้ว)ผู้อ่านไม่กี่คน
  • FAQ: การบันทึกดอกเบี้ยรับ พร้อมรายการถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย
    การบันทึกดอกเบี้ยรับ พร้อมรายการถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย ต้องไปบันทึกที่สมุดรายวันรับเงิน RJ เนื่องจากที่เอกสาร BC ไม่มี section WHT ให้บันทึกรายการภาษีถูกหัก ณ ที่จ่ายค่ะ สมุดรายวันรับ RJ เข้าไปที่เมนูบัญชี สมุดรายวัน สร้าง เลือกประเภทสมุดรายวันรับ RJ Dr. เงินฝากธนาคาร xxx Cr.ดอกเบี้ยรับ xxx Dr.ภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย xxx Cr.เงินฝากธนาคาร xxxผู้อ่านไม่กี่คน
  • FAQ I ระบบจะแจ้งเตือนเมื่อตรวจพบว่ามีการบันทึกภาษีซื้อในสมุดรายวัน JV แล้ว
    เมนูบัญชี ภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT รายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม (VAT) เมื่อกดบันทึกบัญชีแล้ว ระบบแจ้งเตือนตามภาพแนบ เนื่องจากระบบตรวจพบว่ามีการบันทึกภาษีซื้อในสมุดรายวัน JV ส่งผลให้รายการภาษีซื้อ ในรายงานภาษีซื้อภาษีไม่ตรงกับรายงานบัญชี GL 11601 ภาษีซื้อผู้อ่านไม่กี่คน
  • บัญชี (Accounting)
    1. Chart of Accounts แม้ว่าการทำงานส่วนใหญ่บนระบบ Nested จะเป็นบันทึกบัญชีให้อัตโนมัติอยู่แล้ว แต่การตั้งค่าส่วนใหญ่เพื่อให้ระบบทำงานได้ถูกต้องตามควรจะมาจากเมนูย่อย ๆ ในเมนู Accounting ทั้งสิ้น 1. ผังบัญชี ผังบัญชี Chart of Accounts 2. การเชื่อมโยงรหัสบัญชี การเชื่อมโยงรหัสบัญชี Accounting Code Linkage 3. ยอดยกมา ยอดยกมา Beginningผู้อ่านไม่กี่คน
  • ผังบัญชี Chart of Accounts
    ทำไมต้องมีผังบัญชี เพื่อใช้แยกประเภทการลงบัญชี และง่ายต่อการตรวจสอบ สิทธิ์การดำเนินการ สร้าง ผังบัญชี เลือกเมนู บัญชี และ ผังบัญชี กดแท็บ 1. ผังบัญชี กดปุ่ม สร้าง กรอกรายละเอียดต่างๆให้ครบ กด บันทึก แก้ไข ผังบัญชี เลือกเมนู บัญชี และ ผังบัญชี เลือกผังบัญชี ที่ต้องการแก้ไข กดปุ่มดำเนินการ ' ... ' เลือก แก้ไข แก้ไขข้อมูลตามที่ต้องการ กด บันทึก รายละเอียดในเอกสาร color e45765 (หัวเอกสาเป็นที่นิยม
  • การเชื่อมโยงรหัสบัญชี Accounting Code Linkage
    การเชื่อมโยงรหัสบัญชี ทำไมต้องมีการเชื่อมโยงรหัสบัญชี เพื่อใช้เชื่อมโยงการบันทึกบัญชีสำหรับแต่ละเอกสาร สิทธิ์การดำเนินการ แก้ไข การเชื่อมโยงรหัสบัญชี เลือกเมนู บัญชี และ ผังบัญชี กดแท็บ 2. การเชื่อมโยงรหัสบัญชี เลือกเอกสาร ที่ต้องการแก้ไข กดปุ่มดำเนินการ ' ... ' เลือก แก้ไข แก้ไขข้อมูลตามที่ต้องการ กด บันทึก รายละเอียดในเอกสาร ระบบแสดงค่าเริ่มต้นของชื่อย่อปรผู้อ่านไม่กี่คน
  • ยอดยกมา Beginning Balance
    ยอดยกมา ทำไมต้องมียอดยกมา เพื่อเริ่มต้นการใช้งานระบบ สำหรับบริษัทที่ย้ายข้อมูลมาจากโปรแกรมอื่น เมื่อปิดรอบบัญชีแล้ว ควรนำยอดยกไป มาตั้งต้นเริ่มรอบบัญชีใหม่ ขึ้นระบบเนสเตด สิทธิ์การดำเนินการ สร้าง ยอดยกมา เลือกเมนู บัญชี และ ผังบัญชี กดแท็บ 3. ยอดยกมา ระบบสร้างข้อมูลอัตโนมัติจากการสร้างบริษัท เลือกเมนู ตั้งค่า และ อัพโหลดข้อมูลหลัก เลือกประเภทข้อมูลอัพโผู้อ่านไม่กี่คน
  • ทรัพย์สิน Asset
    ทรัพย์สิน ทรัพย์สินทุกชิ้นต้องตรวจสอบได้ ทำไมต้องตรวจสอบได้ สินทรัพย์ทุกชิ้นต้องมีผู้ดูแล Barcode เป็นการ Control ช่วยด้านการบริหารจัดการ ให้ตัวเลขในงบ Reflect ใกล้เคียงกับมูลค่าสินทรัพย์จริงให้มากที่สุด สิทธิ์การดำเนินการ สร้าง ทรัพย์สิน เลือกเมนู บัญชี และ ทรัพย์สิน กดแท็บ 1. ทรัพย์สิน กดปุ่ม สร้าง กรอกรายละเอียดต่างๆให้ครบ กด บันทึผู้อ่านไม่กี่คน
  • ค่าเสื่อมราคา Depreciation (DP)
    ทำไมต้องคำนวณค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคา คือ ค่าใช้จ่ายที่ทยอยตัดจากมูลค่าของสินทรัพย์ที่กิจการใช้ประโยชน์และใช้งานได้เกินกว่า 1 ปีขึ้นไป และมักจะมีมูลค่าสูง กิจการต้องประมาณการอายุการให้ประโยชน์ของสินทรัพย์แต่ละรายการเพื่อทยอยตัดเป็นค่าใช้จ่ายในแต่ละงวด สิทธิ์การดำเนินการ สร้าง ค่าเสื่อมราคา (DP) เลือกเมนู บัญชี และ ทรัพย์สิน กดแท็บ 2. ค่าเสื่อมราคา ระบบจะสร้างค่าเสื่อมราคาอัตโนมัติให้ทุกสิ้นเดือนผู้อ่านบางคน
  • ขายสินทรัพย์ Asset Sale
    ขายสินทรัพย์ ทำไมต้องมีการขายสินทรัพย์ (AS) เพื่อเคลียร์สินทรัพย์ที่ไม่ต้องการ สินทรัพย์ต่างๆมีการเสื่อมสภาพตามกาลเวลา เมื่อถึงวันที่สินทรัพย์ไม่ได้มีการใช้งานได้จริง สูญหาย เสียหาย บริจาค หรือ ขาย ต้องมีการตัดออกจากระบบอย่างถูกต้องตามมาตรฐานบัญชี และภาษีกรมสรรพากร กรณีสินทรัพย์สูญหาย กรณีสินทรัพย์เสียหาย กรณีบริจาค สินทรัพย์บางประเภทจะยากต่อการขายต่อ สามารถติดต่อตามหน่วยงานต่างๆให้เข้ามารับ หรือส่งไปบริจาคที่หน่วยงานนั้นๆได้ สินทรัพย์ทั่วไป เช่น อุปกรณ์สำนักงาน มูลนิธิผู้อ่านบางคน
  • ตั้งค่าทรัพย์สิน Asset Settings
    ทำไมต้องตั้งค่าทรัพย์สิน เพื่อตั้งค่าการคำนวณค่าเสื่อมของทรัพย์สินแต่ละประเภท สิทธิ์การดำเนินการ สร้าง ตั้งค่าทรัพย์สิน เลือกเมนู บัญชี และ ทรัพย์สิน กดแท็บ 4. ตั้งค่าทรัพย์สิน กรอกรายละเอียดต่างๆให้ครบ กด บันทึก แก้ไข ตั้งค่าทรัพย์สิน เลือกเมนู บัญชี และ ทรัพย์สิน กดแท็บ 4. ตั้งค่าทรัพย์สิน แก้ไขข้อมูลตามที่ต้องการ กด บันทึก รายละเอียดในเอกสาร ระบุรูปแบบบาร์โค้ดขผู้อ่านไม่กี่คน
  • สมุดรายวันสิ้นปี Year End Journal (YJ)
    ทำไมต้องมีสมุดรายวันสิ้นปี เพื่อบันทึกโอนปิดรายได้-ค่าใช้จ่ายเข้ากำไร(ขาดทุน) สะสม ทางบัญชี สิทธิ์การดำเนินการ สร้าง / แก้ไข / ยกเลิก สมุดรายวัน อ้างอิงตามเอกสาร สมุดรายวัน รายละเอียดในเอกสาร ตั้งค่าเริ่มต้นเป็นวันนี้ ผู้ใช้งานสามารถเปลี่ยนวันที่เป็นวันที่สิ้นปีได้ เลือกบริษัทที่ต้องการออกเอกสาร ระบุประเผู้อ่านไม่กี่คน
  • สมุดรายวัน Journal
    ทำไมต้องมีสมุดรายวัน เพื่อออกเอกสารบันทึกบัญชีปรับปรุงรายการทางบัญชี สิทธิ์การดำเนินการ สร้าง สมุดรายวัน เลือกเมนู บัญชี และ สมุดรายวัน กดแท็บ 1. สมุดรายวัน กดปุ่ม สร้าง กรอกรายละเอียดต่างๆให้ครบ กด บันทึก แก้ไข สมุดรายวัน เลือกเมนู บัญชี และ สมุดรายวัน กดแท็บ 1. สมุดรายวัน เลือกเอกสารสมุดรายวัน ที่ต้องการแก้ไข กดปุ่มดำเนินการ ' ... ' เลือก แก้ไข แก้ไขข้อมูลตามที่ต้องการ กด บันทึกผู้อ่านไม่กี่คน
  • ประเภทสมุดรายวัน Journal Type
    ประเภทสมุดรายวัน ทำไมต้องมีประเภทสมุดรายวัน เพื่อแยกประเภทของสมุดรายวันให้ตรวจสอบง่าย สิทธิ์การดำเนินการ สร้าง ประเภทสมุดรายวัน เลือกเมนู บัญชี และ สมุดรายวัน กดแท็บ 1. ประเภทสมุดรายวัน กรอกรายละเอียดต่างๆให้ครบ กด บันทึก แก้ไข ประเภทสมุดรายวัน เลือกเมนู บัญชี และ สมุดรายวัน กดแท็บ 2. ประเภทสมุดรายวัน เลือกเอกสารสมุดรายวัน ที่ต้องการแก้ไข แก้ไขข้อมูลตามที่ต้องการ กด บันทีก รายละเอียดในเอกสาร $ผู้อ่านไม่กี่คน
  • ล็อกงวดบัญชี Period Lock
    ล็อกงวดบัญชี ทำไมต้องมีล็อกงวดบัญชี เพื่อป้องกันการแก้ไขเอกสารหลังการปิดงบของบัญชี สิทธิ์การดำเนินการ สร้าง ล็อกงวดบัญชี เลือกเมนู บัญชี และ ล็อกงวดบัญชี ระบบจะสร้างบริษัทอ้างอิงจากการตั้งค่าบริษัทอัตโนมัติ แก้ไข ล็อกงวดบัญชี เลือกเมนู บัญชี และ ล็อกงวดบัญชี เลือกบริษัทที่ต้องการ แก้ไขหรือล็อกงวดบัญชี กดปุ่มดำเนินการ ' ... ' เลือก แก้ไข แก้ไขข้อมูลตามที่ต้องการ กด บันทึก รายละเอียดในเอกสาร color e457ผู้อ่านไม่กี่คน
  • รายงานงบทดลอง Trial Balance Report
    งบที่จัดทำขึ้นด้วยการนำยอดดุลในบัญชีแยกประเภทต่าง ๆ ไม่ว่าจะอยู่ด้านเดบิต หรือเครดิตก็ตามมาคำนวณหายอดคงเหลือทั้งสองด้าน เพื่อพิสูจน์ความถูกต้องในการบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่ ในวันใดวันหนึ่ง เช่น ทุกสิ้นเดือน ทุก 3 เดือน หรือเมื่อสิ้นงวดบัญชี รายงานที่รวบรวมการบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้นไว้เป็นหมวดหมู่ต่อจากการบันทึกในสมุดรายวันทั่วไป ทำหน้าที่แยกประเภทและจัดเป็นหมวดหมู่ให้ดูง่าย มีความสำคัญ สะดวกต่อการจัดทำงบทดลองไดผู้อ่านไม่กี่คน
  • รายงานสมุดรายวัน Journal Report
    รายงานสมุดรายวัน สมุดรายวัน คือ คือสมุดใช้บันทึกบันทึกรายการค้าที่เกิดขึ้น ระบบ Nested รองรับ สมุดรายวันเฉพาะ ( Special Journal ) คือสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการเฉพาะเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ได้แก่ สมุดรายวันทั่วไป ( Journal Voucher ) สมุดรายวันซื้อ (Purchase Journal) สมุดรายวันขาย (Sales journal) สมุดรายวันรับเงิน (Receipts Journal) สมุดรายวันจ่ายเงิน (Cash Payments Journal) สมุดรายวันธนาคาร (Bank Journal) ทำไมต้องมีรายงานสมุดรายวัน เพื่อใช้ดูรายงานแบบแยกประเภทสมผู้อ่านไม่กี่คน
  • รายงานยอดคงค้าง Outstanding Balance Report
    รายงานยอดคงค้าง เป็นรายงานผลดำเนินงาน เช่น ด้านงานบัญชีเจ้าหนี้ / ด้านงานบัญชีลูกหนี้ ทั้งหมดที่เกิดขึ้น ณ ช่วงเวลาใด ช่วงเวลาหนึ่ง ทำไมต้องมีรายงานยอดคงค้าง เพื่อใช้สำหรับตรวจสอบเจ้าหนี้หรือลูกหนี้รายตัวถูกต้องครบถ้วน สิทธิ์การดำเนินการ ดู รายงานยอดคงค้าง เลือกเมนู บัญชี และ รายงานบัญชี เลือกประเภทรายงาน รายงานยอดคงค้าง กรอกรายละเอียดต่างๆให้ครบ กด อัปเดต พิมพ์ รายงานยอดคงค้าง เลือกเมนู บัญชี และ รายงานบัญชี เลือกประเภทราผู้อ่านไม่กี่คน
  • รายงานค่าเสื่อมราคา Depreciation Report
    ทำไมต้องมีรายงานค่าเสื่อมราคา เพื่อใช้ตรวจสอบการคำนวณค่าเสื่อมราคาและการบันทึกบัญชีระหว่างรายงานงบทดลอง สิทธิ์การดำเนินการ ดู รายงานค่าเสื่อมราคา เลือกเมนู บัญชี และ รายงานบัญชี เลือกประเภทรายงาน ค่าเสื่อมราคา กรอกรายละเอียดต่างๆให้ครบ กด อัปเดต พิมพ์ รายงานค่าเสื่อมราคา เลือกเมนู บัญชี และ รายงานบัญชี เลือกประเภทรายงาน ค่าเสื่อมราคา กรอกรายละเอียดต่างๆให้ครบ กด อัปเดต กด ฝั่งขวาของปุ่มอัปเดต เลือก พิมพ์ผู้อ่านไม่กี่คน
  • รายงานภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย Suspend Withholding Tax
    ทำไมต้องมีรายงานภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย เพื่อใช้ตรวจสอบการรายการภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่ายประจำปี ใช้สำหรับยื่นประจำปี เพื่อลดหย่อนภาษี สิทธิ์การดำเนินการ ดู รายงานภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย เลือกเมนู บัญชี และ รายงานบัญชี เลือกประเภทรายงาน รายงานภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย กรอกรายละเอียดต่างๆให้ครบ กด อัปเดต พิมพ์ รายงานภาษีเงินได้ถูกหัก ณ ที่จ่าย เลือกเมนู บัญชี และ รายงานบัญชี เลือกประเภทรายงาน รายงานภาษีเงินได้ถูผู้อ่านไม่กี่คน
  • รายงานสต๊อก Stock Report
    ทำไมต้องมีรายงานสต๊อก เพื่อใช้ในการสรุปรายการสินค้าคงเหลือ ตรวจสอบสินค้าเข้าออกจากคลังสินค้า สิทธิ์การดำเนินการ ดู รายงานสต๊อก เลือกเมนู บัญชี และ รายงานบัญชี เลือกประเภทรายงาน สต๊อก กรอกรายละเอียดต่างๆให้ครบ กด อัปเดต พิมพ์ รายงานสต๊อก เลือกเมนู บัญชี และ รายงานบัญชี เลือกประเภทรายงาน สต๊อก กรอกรายละเอียดต่างๆให้ครบ กด อัปเดต กด ฝั่งขวาของปุ่มอัปเดต เลือก พิมพ์ บันทึก รายงานสต๊อก เลือกเมผู้อ่านไม่กี่คน
  • ภาษีมูลค่าเพิ่ม VAT
    ทำไมต้องมีภาษีมูลค่าเพิ่ม ย่อมาจาก Value Added Tax หรือใช้ในภาษาไทยว่า “ภาษีมูลค่าเพิ่ม” เป็นภาษีที่ถูกบวกเพิ่มเข้าไปในราคาของสินค้าหรือบริการโดยมีลักษณะเป็นภาษีทางอ้อม ผู้ซื้อหรือผู้รับบริการเป็นผู้รับภาระเสียภาษี โดยกิจการมีหน้าที่จัดทำรายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม ยื่นแบบ และนำส่งภาษีให้กรมสรรพากรภายในระยะเวลาที่กำหนด VAT จึงมีลักษณะเป็นหนี้สินที่กิจการจะต้องเรียกเก็บไว้รอนำส่ง ไม่ใช่ “รายได้” ที่เพิ่มขึ้นของกิจการ ซึ่งหากมีการบริหารจัดการภาษีซื้อและผู้อ่านไม่กี่คน
  • ภาษีหัก ณ ที่จ่าย Withholding Tax
    ทำไมต้องมีใบภาษีหัก ณ ที่จ่าย ย่อมาจาก Withholding Tax หรือใช้ในภาษาไทยว่า “ภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย” เป็นการจัดเก็บภาษีล่วงหน้ากำหนดให้ผู้จ่ายเงินได้มีหน้าที่หักภาษีจากเงินที่จ่ายให้แก่ผู้รับทุกครั้งที่จ่าย ซึ่งการหักภาษีต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนด หลังจากนั้นให้นำเงินส่งกรมสรรพากร กรณียื่นเพิ่มเติม เงินเพิ่มคิดจาก ยอดภาษีที่ต้องชำระ x 1.5% xผู้อ่านบางคน
  • Cost Center
    ทำไมต้องมี Cost Center เพื่อให้มีข้อมูลที่ถูกต้อง และสามารถตรวจสอบเอกสารและงบประมาณได้ สิทธิ์การดำเนินการ สร้าง Cost Center เนสเตดรองรับ Cost center สาขา เลขที่เอกสารใบสั่งขาย (SO) แผนก/ฝ่าย ยูนิต (อสังหาริมทรัพย์) แก้ไข Cost Center เลือกเมนู บัญชี และ งบประมาณ กดแท็บ 1. Cost Center เลือก Cost Center ที่ต้องการแก้ไข กดผู้อ่านไม่กี่คน
  • งบประมาณ Budget
    ทำไมต้องมีงบประมาณ เพื่อบันทึกการประมาณการของกำไร(ขาดทุน)ที่ต้องการ สิทธิ์การดำเนินการ สร้าง งบประมาณ เลือกเมนู บัญชี และ งบประมาณ กดแท็บ 2. งบประมาณ กดปุ่ม สร้าง กรอกรายละเอียดต่างๆให้ครบ กด บันทึก เลือกCost Center ที่ต้องการสร้าง งบประมาณ กดปุ่มดำเนินการ ‘ … ’ เลือก สร้างงบประมาณ Cost Centerผู้อ่านไม่กี่คน

ไม่พบสิ่งที่คุณกำลังมองหา?

สนทนากับเราหรือส่งอีเมล

  • สนทนากับเรา
© 2025 Nested Wiki